วันพฤหัสบดีที่ 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2554

ABSTRACT บ่าวริมโขง

logo1
                                                                      ABSTRACT

 

clip_image001The aim of this thesis is to study and analyses ethically the salient concepts of the Buddhism proverbs and the Esan saying, exposing the similarity and contrast of these two systems.

By way of analytical study, it is found that the concepts in metaphysics and ethics of the two systems are similar in the some respects and are different in others.

From metaphysical points of view, both of them agree that the ultimate reality is one, eternal, indescribable, transcendental, immanent and without limitation. It exists by itself as the first cause and the unity of all things.

But from the ethical points of view, both of them agree that the ideal of life or the Summum Bonum that should be sought is the type of idealism which holds that the real and highest happiness is the peace of mind and not bodily happiness. Both of them emphasis the extinction of desire and self-control and teach men to act in accondance with their duties in submission to the ultimate reality.

However, the Buddhism proverbs and the Esan saying disagree in cartain points in their Metaphysics, especialy in their understanding of the ultimate reality. Buddhism proverbs holds that the ultimate reality is the absolute self and pure consciousness which according the Esan saying the ultimate reality is neither consciousness nor matter. It is nothing but the nameless without form and the natural process. The Buddhism advocates that dharmma is the first mover and the cause of all things. All thing in the cosmos are based on dharmma. On the contrary, the Phaya advocates that the origin of the cosmos and all things together with the process of change evolve from the mind without it’s determination or the will of creation.

Both systems are different in some points, that is, that is, as regards moral judgements of human action, the Buddhism proverbs holds that the will of human mind and the will of oneself [Buddhist] are the moral standard; whereas the Phaya Esan holds that spontaneity without any limitation is right. As far as the essence of their teachings, i.e.,actions without desire in the proverbs Buddhist and Phaya in the figurative phaya Esan saying, is concerned, of the Buddha teaches that men should perform their righteous acts in accordance with their duties of caste prescribed by oneself; whereas the Phaya Esan teaches men to act spontaneously, letting the nature grow naturally in harmony with Buddhism laws.

According to this research, it is found that the difference in metaphysics entails the difference in ethics and it may be said at last that the Buddhism Proverbs is more complete in both form and content than the Phaya Esan saying.

ปริญญานี้ มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาวัฒนธรรมภาษาอีสานจากผญา ซึ่งเก็บรวบรวมผญาจากบ้านหนองเรื่อ…..โดยแบ่งตามเนื้อหาคือ ผญาภาษิต ผญาคำพังเพย ผญาอวยพร ผญาเกี้ยว และแบ่งตามรูปแบบมีผญาที่สัมผัสต่อเนื่อง ผญาที่ไร้สัมผัสต่อเนื่อง และผสมผสานในการศึกษาครั้งนี้ ผู้วิจัยมุ่งพิจารณาถึงวัฒนธรรมภาษาอีสานในด้านต่างๆ คือ เอกลักษณ์ภาษาอีสานที่เกี่ยวกับวัฒนธรรม นิสัย ของชาวอีสานที่ปรากฏในใช้ถ้อยคำ ศิลปะการสร้างคำ และการตกแต่งถ้อยคำ การจำแนกระดับถ้อยคำและสภาพชีวิตและสังคมที่ปรากฏในผญา ผลวิจัยสรุปได้ดังนี้

1. เอกลักษณ์ภาษาอีสานที่เกี่ยวกับวัฒนธรรมที่ปรากฎในผญา อีสาน มีเอกลักษณ์เฉพาะตนในเรื่องคำภาษาอีสาน คือ มีทั้งคำที่ร่วมเผ่าพันธ์กับภาษากลางและคำที่ไม่ร่วมกับเผ่าพันธุ์กับภาษากลาง โดยมีลักษณะพิเศษแตกต่างกันออกไปคือ จะแตกต่างกันในด้านรูปศัพท์ เสียง และความหมาย โดยเฉพาะเรื่องคำวิเศษณ์ในภาษาอีสาน มีความแตกต่างจากภาษากลางอย่างเด่นชัด นอกจากนี้ในผญายังปรากฎคำที่ใช้แทนบุคคลที่ตนรัก คำสร้อย และคำเสริมเป็นจำนวนมาก จากการศึกษาจึงพบว่า ผญาอีสานได้สะท้อนให้เห็นเอกลักษณ์ภาษาอีสานได้อย่างครบถ้วนและหลากลาย

2 นิสัยของชาวอีสานที่ปรากฎในการใช้ถ้อยคำ จากการศึกษาพบว่า ชาวอีสานเป็นบุคคลที่มีมนุษย์สัมพันธ์อันดีกับเพื่อนบ้านหรือแม้แต่ผู้มาเยี่ยมเยือนเป็นแขกต่างบ้านก็ตาม นิสัยต่างๆ ที่ปรากฎในผญาอีสาน เช่น การทักทาย ถามข่าว การพูดถ่อมตัว และยกย่องคู่สนทนา การพูดความจริง การใช้ภาษาที่เป็นรูปธรรม และการพูดแบบมีโวหาร

3 ศิลปะการสร้างคำและการตกแต่งถ้อยคำ ในด้านการสร้างคำ พบว่ามีการสร้างคำในลักษณะเดียวกัน กับการสร้างคำในภาษากลางคือมีการสร้างคำซ้ำ คำซ้อน คำประสม และคำยืมมาจากภาษาอื่น ส่วนด้านการตกแต่งถ้อยคำ จะนำเอาคำเหล่นี้มาเรียบเรียงเป็นคำผญาโดยทำให้เกิดเสียงสัมผัสแบบต่างๆ อย่างครบถ้วน มีการใช้คำที่มีความหมายเด่นชัด ใช้คำที่ให้เสียงและความหมาย ใช้สำนวนโวหารแบบต่างๆ ได้อย่างหลากหลาย มีการใช้สัญลักษณ์ในผญาอีกด้วย

5 สภาพชีวิตและสังคมที่ปรากฎในผญาอีสาน ได้สะท้อนให้เห็นถึงสภาพความเชื่อ วิถีชีวิตในสังคมของชาวอีสานโดยทั่วไปเกี่ยวกับเรื่องครอบครัว เครือญาติ ว่ามีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกันมาก มีลักษณะเป็นญาติพี่น้องช่วยเหลือเกื้อกูลกันเป็นอย่างดี ส่วนในด้านอาชีพส่วนใหญ่เน้นหนักไปในด้านการทำนา ด้านขนบธรรมเนียมประเพณีจะกล่าวถึงจารีตประเพณีของชาวอีสานที่เรียกว่า “ ฮีตสิบสองคลองสิบสี่” การทำบุญตักบาตร ด้านวัฒนธรรม จะสะท้อนให้เห็นวัฒนธรรมการทอผ้า การจักสาน การกินอาหาร การปั้นหม้อ ส่วนด้านความเชื่อ ชี้ให้เห็นว่าชาวบ้านมีความเชื่อเรื่องโชคลาง ภูตผี เทวดา เชื่อในคำสอนของพระพุทธศาสนาโดยเรื่องบาป บุญ นรก สวรรค์เป็นต้น

this thesis focuses on the language and culture of the Esan people as reflected in ‘Phaya’ from Northeast. The collected Esan verses are classified in accordance with their content into proverbial phaya, figurative phaya, blessing phaya, and courting phaya. In accordance with their metrical patterns, these verses are also subcategorized as rhyming phaya and blank verses, the letter referring to phaya without rhymes. The main areas to be emphasized in this study include the unique features of the Esan dialect in relation to the Esan culture, the characteristics of the Esan people as evidenced in language styles used in phaya, the art of word formation and arrangement, word classification, and the socioeconomic conditions reflected in phaya.

The results of the study can be summarized as follows:

1. In relation to its features, the Esan dialect appearing in the collected phaya in unique in terns of choices of words, which include both cognates and non-cognates of their standard Thai equivalents. In general the Esan word used in phaya differ from their standard Thai counterparts in morphological, phonological and semantic properties. The Esan adverbs, in particular, are largely different from those in standard Thai. In addition, a remarkable number of terms for beloved ones, as well as reduplicated and enhancing words, have been found in the collection. To a great extent, the phaya of the Esan people reflects the unique characteristics of the Esan Language styles.

2 A close study of the collected phaya indicates that the local people of Esan hold good human relationship with their neighbors and even with unfamiliar visitors. It has also been found from the phaya that the Esan people bear the traits of greeting one another, being modest, praising others, speaking the truth, and avoiding the use of inappropriate expressions.

3 In relation to the art of word formation, it has been found that compound words in the Esan dialect, like those in standard Thai, are formed by reduplicating a particular base, adding a word similar in meaning to a base, combining two or more words, and borrowing words from other languages. As for word arrangement, Esan words are arranged into verses in accordance with various patterns of rhyming. It is found in the collected phaya that words with a clear denotation, words with an emphatic sound and meaning, proverbs and idioms of different styles, as well as symbols, are richly incorporated in phaya.

5 In relation to the socio-economic conditions, the phaya of Northeast [Esan] reflects the way of life typical of the Esan in general. It is evidenced that relationship are held firm among family members and relatives, as they always assist one another. As for their occupations, the majority of people in Esan are farmers. Also mentioned in the collected phaya are ‘Heet sib song khong sib see’ [ the Esan Guidelines of Conducts] and ‘Tak Batra’ [Merit Making by offering food to Buddhist monks]. In terms of the Esan culture, the phaya indicates the traditions of material weaving, basketry, food consumption, and pottery. Finally, it is found that the Esan people believe in fortune, spirits, gods, dharma [the teaching of Buddha],as well as hells and heavens.

6 ในด้านเนื้อหา พุทธภาษิตและผญาภาษิตอสาน สะท้อนถึงสภาพชีวิตและวัฒนธรรมที่คล้ายคลึงกัน ซึ่งแสดงถึงลักษณะร่วมกันของสังคม และการดำรงชีวิตสัมพันธ์กับหลักศีลธรรม มีความเชื่อถือในเรื่องบาป บุญ ในพระพุทธศาสนา

the contents of the conversation reflect similarities in way of life and culture of the people in the two regions. The similarities are the mutual characteristics of the self-sufficient agricultural societies in which people live closely with the nature. The beliefs of the people are the integration between superstition and religions [Buddhism]

In ethical espect, the practical way, the Buddhis philosophy believes that there exist good and bad, right and wrong, bad behavior and good behavior, suffering and happiness and wrong, bad behavior and good behavior, suffering and happiness and emancipation and non emancipation. All such mentioned occure because of the co-working of body and mind. Right behavior leads to an end of bad action. In order to get happiness or to attain salvation, the highest goal in Buddhist philosophy, we must strictly follow the eightfold path, the middle way, which can be classified into three catagories : morality, meditation and wisdom

Right observance of morality leads to right meditation and also right meditation practice leads to right wisdom. Right practice in morality , meditation and wisdom is to practice correctly to the teachings of the Buddha; [dharma , right principles] themselves.

กิตติกรรมประกาศ




กำเนิดโยคะ [ Origins of YOGA ]


โยคะ เกิดขึ้นที่อินเดียเมื่อประมาณ 4 - 5 พันปีที่ผ่านมา เดิมจะเป็นการฝึกเฉพาะโยคีและชนชั้นวรรณะพราหมณ์
เพื่อเอาชนะความเจ็บป่วย ต่อมาโยคะได้พัฒนาผ่านลัทธิฮินดู มายุคพุทธศาสนา ถึงยุคลัทธิเซนในประเทศจีน
โดยแท้จริงแล้ว โยคะไม่ได้เป็นศาสตร์ของศาสนาใดศาสนาหนึ่ง แต่เป็นศาสตร์สากลที่ศาสนาต่าง ๆ สามารถนำมาเป็นส่วนหนึ่ง
ในการปฏิบัติเพื่อบรรลุเป้าหมายสูงสุดแห่งศาสนานั้น ๆ โยคะจึงเป็นที่แพร่หลายไปทั่วโลก โดยเฉพาะ หะฐะโยคะ( Hatha Yoga )
ซึ่งจัดว่าเป็น Modern Yoga ที่พัฒนามาจากการรวมแบบโยคะดั้งเดิม กับวิธีปฏิบัติของพระพุทธศาสนา



ความหมายของโยคะ [ Meaning Of YOGA ]

โยคะ หมายถึง การสร้างความสมดุลของร่างกาย-จิตใจ และจิตวิญญาณ โดยรวมให้เป็นหนึ่งเดียว
หะฐะโยคะ (HATHA YOGA) เป็น 1 ในสาขาโยคะทั้งหมด หะฐะโยคะ จะใช้ศิลปการบริหารร่างกาย ภายใต้การควบคุมของจิตใจ
เกิดความสมดุลของพลังด้านบวกและด้านลบ โยคะจึงช่วยบรรเทาและบำบัดโรคได้
หะฐะโยคะ จึงเป็นที่นิยมแพร่หลายทั่วโลก โดยเฉพาะในยุคปัจจุบัน ที่ผู้คนเห็นความสำคัญของ สุขภาพกาย และสุขภาพจิตที่ดี



โยคะท่าพื้นฐาน

ท่านมัสการ




ความหมาย


• นมัสการ หมายถึง ทำความเคารพ



วิธีปฏิบัติ


• ยืนหันหน้าไปทางพระอาทิตย์ เท้าชิด พนมมือ

• หายใจเช้าและยกแขนขึ้น ค่อยๆ เอนตัวไปข้างหลัง ยื่นแขนเหนือศีรษะ

• หายใจออกช้าๆ เอนตัวไปข้างหน้า ให้มือที่พนมอยู่สัมผัสพื้นจนกระ ทั่งมืออยู่ในแนวเดียวกับเท้าศีรษะสัมผัสหัวเข่า

• หายใจเข้า ก้าวเท้าขวาถอยหลังมา 1 ก้าว ให้มือและเท้า ยังคงอยู่กับพื้น เท้าซ้ายอยู่ระหว่างมือทั้งสองข้าง ยกศีรษะขึ้น

• ขณะหายใจออก ยกเท้าซ้ายเข้ามาชิดเท้าขวา แขนตรงยกสะโพกขึ้นให้ศีรษะ และแขนอยู่ในแนวเดียวกัน ทำท่าเป็นรูปโค้งขึ้น

• หายใจเข้าและค่อยๆ ลดสะโพกลงมาที่พื้น (ให้สะโพกอยู่เหนือพื้นเล็กน้อย) ก้มตัวลงไปข้างหลังให้มากที่สุด

• หายใจออก และลดตัวลงมาที่เท้า เข่า มือ และอก สัมผัสพื้น

• หายใจเข้า และค่อยๆยกศีรษะขึ้น เงยศีรษะไปข้างหลังให้ได้มากที่สุด และโค้งกระดูกสันหลังไปให้ได้มากที่สุด เหมือนท่านาคอาสนะ

• ขณะหายใจออกช้าๆ และให้แขนอาสนะ ยกสะโพกขึ้น และให้ศีรษะอยู่ในแนวเดียวกับแขน ทำเป็นรูปโค้งขึ้น

• หายใจเข้าช้าๆ และงอเข่าซ้าย ก้าวไปข้างหน้าหนึ่งก้าว มือยังคงอยู่ที่พื้น วางเท้าซ้ายลงบนพื้นระหว่างมือทั้งสองข้าง ยกศีรษะขึ้น

• หายใจออกช้าๆ ให้มืออยู่ที่เดิม ดึงเท้าทั้งสองเข้ามาชิดกัน ให้อยู่แนวเดียวกับมือถ้าเป็นไปได้ ให้ศีรษะสัมพันธ์กับหัวเข่า

• หายใจเข้าช้าๆ และยกแขนขึ้น ค่อยๆเอนตัวไปข้างหลัง โดยยื่นแขนขึ้นเหนือศีรษะ ย้อนกลับไปตำแหน่งยังข้อ 1



ท่าชวังคอาสนะ




ความหมาย

• ในภาษาสันสกฤต ชว หมายถึง ทั้งหมด หรือ ทุกๆ อังคะ หมายถึง ร่างกาย ชวังคะ จึงหมายถึง ทำทั้งร่างกาย

ที่เรียกเช่นนี้เพราะเป็นท่าที่ให้ประโยชน์แก่ร่างกายทุกส่วน ท่านี้มักเรียกกันว่า ท่ายืนบนไหล่

วิธีปฏิบัติ


• นอนหงายในท่า ศพอาสนะ

• หายใจเข้า วางฝ่ามือคว่ำลงบนพื้น ให้สะโพกอยู่บนพื้นขณะงอเข่าและดึงเข่าเข้ามาที่ท้อง หายใจออก

• หายใจเข้าช้าๆ กดฝ่ามือลง ยกลำตัวตั้งแต่ส่วนเอวขึ้นจากพื้น งอกระดูกสันหลังไปข้างหลัง และทำท่อนแขนให้ตรง ให้สะโพกอยู่บนพื้น

• หายใจเข้าแล้วในขณะหายใจออก ให้ยกขาตั้งฉากกับพื้น อาจใช้มือพยุงสะโพกไว้ หรือวางแขนไว้ลงกับพื้นตามถนัด

• ขาดชิด เข่าตรง นิ้วเท้าชี้ขึ้น ศีรษะตรงไม่หันไปด้านใดด้านหนึ่ง เก็บคางให้ชนหน้าอก

• หายใจเข้า ออก ช้าๆ ขณะคงท่านี้ไว้

• ทำย้อนกลับจากข้อ 6 จนกลับสู่ท่าศพอาสนะ



ท่าตรีโกณอาสนะ



ความหมาย

• คำว่า ตรี ในภาษาสันสกฤตหมายถึง สาม โกณ หมายถึง เหลี่ยมหรือมุม

ดังนั้น ท่านี้จึงเรียกว่า ท่าสามมุม หรือท่าสามเหลี่ยม

วิธีปฏิบัติ


• ยืนเท้าชิดแขนแนบลำตัว

• แยกเท้าออกจากกัน ให้ระยะห่างมากกว่าหนึ่งช่วงไหล่เล็กน้อย

• หายใจเข้าและยื่นแขนทั้งสองข้างออกให้ขนานกับพื้น ฝ่ามือคว่ำลง

• หายใจออกช้าๆ หันลำตัวไปทางซ้าย งอตัวที่ช่วงเอว ให้มือขวาลงไปที่แข้งซ้าย ฝ่ามือขวา วางไว้ข้างนอกของหน้าแข้งซ้าย

แขนซ้ายควรยื่นออกไปด้านบนขาและแขนทั้งสองข้างตรง โดยไม่ต้องงอเข่าและข้อศอก


• หันศีรษะขึ้นไปทางซ้าย มองไปที่ปลายนิ้วมือซ้าย หายใจเข้า และกลับไปสู่ท่าเดิม คือท่ายืน ให้แขนกางออก

• คงท่านี้ไว้ เท่ากับช่วงหายใจออก หายใจออกและทำซ้ำ ขั้นตอนที่ 4-7 สลับซ้าย



ศีรษะอาสนะ



ความหมาย

• คำว่า ศีรษะ หมายถึง หัว ในภาษาสันสกฤต ท่านี้คือ ท่ายืนด้วยศีรษะ ซึ่งได้รับความนิยมมากในการฝึกอาสนะ ไม่แพ้ท่าปทมอาสนะ

ด้านบนคือภาพโมกุลในศตวรรษที่ 16 ซึ่งเป็นภาพโยคีขณะทำท่าศีรษะอาสนะ

วิธีปฏิบัติ


• นั่งคุกเข่า ให้สะโพกอยู่บนส้นเท้า

• เอนตัวไปข้างหน้า วางแขนลงบนพื้น ให้ศอกห่างกัน 1 ช่วงไหล่ ประสานนิ้วมือเข้าไว้ด้วยกัน

• วางศีรษะลงบนพื้น ให้ท้ายทอยสัมผัสมือที่ประสานไว้

• ให้ปลายเท้าจิกพื้น ขณะยกส้นเท้าขึ้น ยกเข่าขึ้นจากพื้น

• คงท่านี้ไว้เป็นระยะเท่ากับการหายใจเข้า ถ้าไม่สามารถกลั้นหายใจได้ ให้ค่อยๆ หายใจออก และนอนราบกับพื้น กางขาออก กลับไปสู่ท่าศพอาสนะ



หลอาสนะ



ความหมาย

• หล แปลว่า คันไถ

วิธีปฏิบัติ


• นอนหงาย แบบท่าศพอาสนะ

• หายใจเข้า วางฝ่ามือคว่ำที่พื้น ให้สะโพกอยู่บนพื้น งอเข่าเข้ามาจรดท้องขณะหายใจออก

• หายใจเข้า ขณะหายใจออกให้ยกขาขึ้นตั้งฉากกับพื้น คุณอาจใช้มือพยุงสะโพก หรือวางแขนราบไปกับพื้นแล้วแต่ถนัด

• หายใจออก แล้วยกขาขึ้นเหนือศีรษะ งอขาตั้งแต่ช่วงเอวลงมา ยกหลังและสะโพก จนนิ้วเท้าสัมผัสพื้นด้านหลังของศีรษะ รักษาเท้าให้ชิดกัน

หากใช้มือพยุงหลังให้ลองวางแขนราบไปกับพื้น ให้ฝ่ามือคว่ำลง ถ้าไม่สามารถวางแขนลงที่พื้นได้ให้ใช้มือพยุงหลังส่วนล่างไว้


• เข่าตรง หายใจช้าๆ และคงท่านี้ไว้สักครู่ ถ้านิ้วเท้าสัมผัสพื้นไม่ได้ ก็พยายามให้นิ้วเท้าอยู่ต่ำที่สุด

• ทำท่าย้อนกลับตั้งแต่ข้อ 5 ถึง 1 จนกลับไปสู่ท่าศพอาสนะเหมือนเดิม




ธนูอาสนะ




ความหมาย

• คำว่าธนู ในภาษสันสกฤต หมายถึง มีรูปร่างเหมือนคันศร โค้ง หรือ งอ คันศร

ในที่นี้หมายถึง คันศรที่ใช้กับลูกธนู ท่าอาสนะนี้ มีชื่อแบบนี้เนื่องจาก ร่างกายมีท่าทางคล้ายคันศรที่โก่งพร้อมยิงธนู

วิธีปฏิบัติ


• นอนคว่ำหน้าไปข้างใดข้างหนึ่ง แขนราบไปกับลำตัว หงายฝ่ามือขึ้น

• หันหน้ามาเพื่อวางคางไว้บนพื้น หายใจออก งอเข่า เอื้อมแขนไปข้างหลัง จับข้อเท้าขวาไว้ด้วยมือขวา จับข้อเท้าซ้ายด้วยมือซ้าย

• ขณะหายใจเข้า ค่อยๆ ยกขาขึ้นโดยดึงข้อเท้าขึ้น ยกเข่าขึ้นจากพื้น และยกอกขึ้นจากพื้นในเวลาเดียวกัน

กลั้นลมหายใจเข้าเอาไว้ ทิ้งน้ำหนักทั้งหมดลงบนหน้าท้อง


• ยื่นศีรษะให้ไกลที่สุด คงท่านี้ไว้ขณะกลั้นหายใจ

• หายใจออกช้าๆ วางเข่าลงบนพื้น ปล่อยข้อเท้า ค่อยๆ วางขาและแขนลงบนพื้น หันหน้าไปข้างหนึ่ง ทำเหมือนท่าเริ่มต้น



ท่าพิจิกอาสนะ



ความหมาย

• ท่าพิจิกหรือท่าแมงป่อง ในท่านี้ ร่างกายจะดูเหมือนแมลงป่อง ที่ยกหางโค้งขึ้นเหนือหัว พร้อมจะต่อยคู่ต่อสู้

แม้ท่านี้จะดูยากสำหรับผู้เริ่มต้น แต่ก็ไม่ยากเกินไปนัก

วิธีปฏิบัติ


• คุกเข่าลงที่พื้น โน้มตัวไปข้างหน้า วางศอกและแขนด้านในราบไปกับพื้น ให้ฝ่ามือคว่ำลง แขนควรห่างกันประมาณ 1ช่วงไหล่

• ยื่นศีรษะไปข้างหน้าและยกให้สูงที่สุด

• ยกสะโพกขึ้น วางเท้าให้มั่นคง

• หายใจเข้าและแกว่งขาขึ้นไปเหนือศีรษะ รักษาสมดุลของร่างกายไว้ ยกขาตรงขึ้นเหนือศีรษะ

• ค่อยๆ งอเข่าและปล่อยขาลงมาทางด้านศีรษะ ระวังอย่าเคลื่อนไหวเร็วเกินไป และอย่าทิ้งขาลงไปไกลเกินไปขณะรักษาสมดุลของร่างกายไว้

• ทำย้อนกลับจากข้อ 5 จนกลับไปสู่ท่าคุกเข่า

* ข้อควรระวัง ไม่ควรลองท่าแมงป่อง จนกว่าคุณจะสามารถทำท่าที่ต้องใช้สมดุลของร่างกายอื่นๆ และไม่เหมาะกับสตรีมีรอบเดือน



ท่าพฤกษอาสนะ




ความหมาย

• ในภาษาสันสกฤต พฤกษะหมายถึง ต้นไม้ ท่านี้จึงเรียกว่าท่าต้นไม้

"ยืนตรงบนขาซ้าย งอขาขวาและวางขาขวาไว้บนโคนขาซ้าย ยืนเหมือนต้นไม้ ยืนอยู่บนพื้นดิน นี่คือท่าพฤกษอาสนะ"

วิธีปฏิบัติ


• ยืนเท้าชิด แขนแนบลำตัว

• งอเข่าขวา ยกต้นขาขวา และยก ส้นเท้าขวาไปบนต้นขาซ้ายด้าน ในให้โกร่งที่สุดเท่าที่จะทำได้

• ทรงตัว บนเท้าซ้าย ยกแขนทั้งสอง ข้างขึ้นเหนือศีรษะ อย่าให้ข้อศอกงอ และให้ฝ่ามือประชิดกัน

คงท่านี้ไว้ขณะค่อยๆ หายใจ ประมาณ 10 ช่วงหายใจเข้าออก


• ลดแขนและขาขวาลง และกลับไปสู่ตำแหน่งในข้อ 1 คือการยืนหน้าชิด แขนแนบลำตัว หยุดพักสักครู่ และทำซ้ำด้วยขาข้างหนึ่ง



ศพอาสนะ



ความหมาย

• ความหมาย คำว่า ศพ ในภาษาสันสกฤต หมายถึง ร่างที่ตายไปแล้ว

"การนอนลงที่พื้นเหมือนศพ เรียกว่า ศพอาสนะ ช่วยกำจัดความเหนื่อยล้าและให้จิตใจได้พักผ่อน" จากหัตถโยคะปฏิบัติ

วิธีปฏิบัติ


• นอนหงาย อย่าให้ขาแตะกัน แขนราบไปกับลำตัว ฝ่ามือหงายขึ้น

• หลับตาลง ผ่อนคลายกล้ามเนื้อใบหน้า หายใจเข้าลึกๆ ช้าๆ

• งอข้อศอก วางฝ่ามือบนพื้นใต้ไหล่ ให้นิ้วชี้ไปด้านหลัง

• มุ่งความสนใจไปที่อวัยวะแต่ละส่วนของร่างกาย จากหัวถึงเท้า แล้วค่อยๆ ผ่อนคลายทีละส่วน

• คงท่านี้ไว้ 10-15 นาที หากรู้สึกง่วงนอนขณะทำท่านี้ ให้หายใจเร็วและลึกขึ้น

• ครั้งแรกที่ฝึก ให้คงท่าศพอาสนะไว้ 10 หรือ 15 นาที กลับมาทำซ้ำเป็นระยะๆ ในช่วงฝึกท่าต่างๆ เพื่อผ่อนคลายและกระตุ้นร่างกาย / จิตใจ

คำแนะนำ

บางคนคิดว่าท่านี้ง่ายมาก แต่จริงๆ แล้วไม่ใช่อย่างนั้น จุดประสงค์ของศพอาสนะ คือ ให้ร่างกายและจิตใจผ่อนคลาย

นอกจากร่างกายจะต้องนิ่งและผ่อนคลายแล้ว จิตใจยังต้องนิ่งราวกับผิวน้ำที่ปราศจากการรบกวนอีกด้วย

ผลที่ได้คือการผ่อนคลายอย่างล้ำลึกและนิ่ง อันจะส่งผลให้เกิดสมาธิต่อไป

การฝึกศพอาสนะนั้นต้องใช้เวลา การกำหนดความสนใจไปที่อวัยวะแต่ละส่วนและ กำหนดลมหายใจล้วนแต่มีประโยชน์ต่อการฝึกท่านี้อย่างยิ่ง

อุปสรรค 2 อย่างที่อาจลดคุณค่าการฝึกศพอาสนะ ก็คือ ความง่วงและจิตใจที่ฟุ้งซ่าน หากรู้สึกง่วงขณะฝึก ให้กำหนดลมหายใจให้ลึกขึ้น

หากจิตใจไม่นิ่ง ให้มุ่งความสนใจไปที่ส่วนต่างๆ ของร่างกาย กำหนดจิตไปที่พื้นหรือที่จังหวะลมหายใจของคุณเอง

การฝึกศพอาสนะควรทำก่อนและหลังการฝึกอาสนะเป็นประจำ


ข้อมูลจาก
Practice 01





------------------------------------------------------------------------------

 
Design by Wordpress Templates | Bloggerized by Free Blogger Templates | Web Hosting Comparisons